thumbnail content

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุชาติ เศรษฐมาลินี

กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประวัติการศึกษา

      ปริญญาเอก (Sociology), University of Hawai‘i at Mānoa, Honolulu, U.S.A. (พ.ศ. 2553)
      ปริญญาโท (Sociology), University of Hawai‘i at Mānoa, Honolulu, U.S.A. (พ.ศ. 2546)
      ประกาศนียบัตรระดับบัณฑิตศึกษา (International Cultural Studies), University of Hawai‘i at Mānoa and East-West Center, Hawai‘i, U.S.A., (พ.ศ. 2547)
      ปริญญาโท (วิจัยประชากรและสังคม) มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. 2535)
      ปริญญาตรี (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  (พ.ศ. 2531)

ประสบการณ์

     กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (25 พ.ค. 2564 – ปัจจุบัน)
     หัวหน้า สาขาวิชาสันติศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ (2556 - พ.ค. 2563)
     อาจารย์พิเศษ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  (2557 - 2563)
     ผู้อำนวยการ สถาบันศาสนา วัฒนธรรมและสันติภาพ มหาวิทยาลัยพายัพ (2555 - 2558)
     อาจารย์ประจำ สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยพายัพ (2537 - 2555)
     ผู้ประสานงานภาคเหนือ สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI), (2535 - 2537)

งานเขียน

ผลงานด้านการวิจัย
     2562-2563. เรื่อง “ถอดบทเรียนความขัดแย้งและการสร้างสันติภาพในชีวิตประจำวัน” สนับสนุนโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
     2561-2562. เรื่อง “บทบาทความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซียต่อปัญหาผู้ลี้ภัย: กรณีศึกษาชาวโรฮิงญาและชาวอุยกูร์” สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
     2559-2561. เรื่อง “ความรุนแรงไร้พรมแดนของผู้อพยพข้ามชาติ: กรณีชาวอุยกูร์จากซินเจียง” สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
     2555-2558. เรื่อง “การสร้างสันติภาพในสังคมพหุลักษณ์ทางศาสนาชาติพันธุ์: กรณีศึกษาชุมชนมุสลิมในภาคเหนือ” สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
     2551-2554. เรื่อง “มิติทางวัฒนธรรมของการสร้างสันติภาพ” ในโครงการเมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เรื่อง “มิติทางปรัชญาและวัฒนธรรมของการสร้างสันติภาพ” โดย รศ.ดร.มารค ตามไท เป็นเมธีวิจัยอาวุโส
 
หนังสือ
     2565. พหุวัฒนธรรมและสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้. ยะลา:  ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้. (93 หน้า)
     2562. “เส้นทางชีวิตบนทางอิสลามกับการสร้างสันติภาพ” ใน จันจิรา สมบัติพูนศิริ และ ประจักษ์ ก้องกีรติ. ระหว่างปริศนาและศรัทธา: ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ กับการเมืองมนุษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ศยามปัญญา. หน้า 501-528.   
     2561. “พหุวัฒนธรรมกับมุสลิมจีน: ทั้งรัก ทั้งชัง ทั้งหวาน และขมขื่น” ใน เอกรินทร์ ต่วนศิริ (บรรณาธิการ). หลากมุมมองพหุวัฒนธรรม. ปัตตานี: ปาตานีฟอรั่ม. หน้า 44-60.
     2560. นัยนามแห่งอิสลาม: บทสำรวจคำสอนอิสลามว่าด้วย สันติภาพ ความรุนแรง ครอบครัวและสตรี. ปัตตานี: ปาตานีฟอรั่ม. (232 หน้า)   
     2016. “The Diversity of Chinese Muslim Identities: A Special Hui in Yunnan” in Gui Rong, Hacer Zekiye Gönül and Zhang Xiaoyan (Eds.). Hui Muslims in China. Leuven: Leuven University Press. Pp. 113-126.
     2558. “มิติทางวัฒนธรรมของการสร้างสันติภาพ.” ใน มารค ตามไท (บรรณาธิการ). มิติทางปรัชญาและวัฒนธรรมของการสร้างสันติภาพ. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ. หน้า 263-305.
     2558. “อิสลามกับสิทธิของผู้หญิงและความเสมอภาคระหว่างเพศ.” ใน โชคชัย วงษ์ตานี และคณะ (บรรณาธิการ). คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาสำหรับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. พิมพ์โดย สำนักงานคณะกรรมการทธิมนุษยชนแห่งชาติ. หน้า 89-121.
     2557.  คนหนุ่มสาวมุสลิมกับอิสลามในโลกสมัยใหม่ (บรรณาธิการ). พิมพ์โดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 792 หน้า. 
     2556. “Suthep Soonthornpasuch: the Pioneer of Chinese Muslim Studies in Thailand.” ใน Suthep Soonthornpasuch. Islamic Identity in Chiengmai City: A Historical and Structural Composition of Two Communities. Chaing Mai: Center for Ethnic Studies and Development, Chiang Mai University. Pp.228-222.
     2550. ความรุนแรง สันติภาพ และความหลากหลายในโลกอิสลาม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม (213 หน้า)

เลื่อนขึ้นด้านบน